เป้าหมายหลัก

เป้าหมายหลัก: นักเรียนเรียนสามารถอ่านและวิเคราะห์ สังเคราะห์เรื่องราวจากวรรณกรรม “ สายลมกับทุ่งหญ้าได้อย่างมีวิจารณญาณ เข้าใจความหมายของคำหรือวลีที่ผู้แต่งที่ต้องการสื่อ เชื่อมโยงกับหลักภาษาชนิดของคำและประโยค รวมทั้งสามารถจับใจความสำคัญและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน การแต่งเรื่องราวใหม่ การตีความอธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เห็นคุณค่าและมีนิสัยรักการอ่าน

วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558

main

Mind mapping



ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจลึกซึ้ง)
             (นักเรียนเข้าใจว่า) วรรณกรรมเยาวชนหรือวรรณกรรมเด็ก มีการดำเนินเรื่องที่เป็นบทสนทนามากกว่าคำบรรยายยืดยาว ทำให้เด็กไม่เบื่อ การเรียงลำดับเรื่องราวที่ดีทำให้เด็กสามารถติดตามเรื่องราวได้ง่ายไม่สับสนวรรณกรรมเยาวชน เรื่อง สายลมกับทุ่งหญ้าว่าด้วยเรื่องราวความรักความผูกพันระหว่างตากับหลานคู่หนึ่ง
             ความทรงจำที่ยังตรึงตราในหัวใจ  ทุ่งหญ้าที่เขียวขจีและสายลมที่โชยเย็นมา  มีกลิ่นไอธรรมชาติ ทำให้นึกหวนกลับถึงสมัยวัยเยาว์ถึงแม้จะอยู่ในชนบท  แต่ก็มีความสุขอย่างเอิบอิ่มใจซึ่งแตกต่างกับในตัวเมืองโดยสิ้นเชิงที่มีความเจริญในทางวัตถุแต่หาความสุขที่สมบูรณ์ไม่ได้
สายลมคือลมหายใจของท้องทุ่ง   ลมหายใจแม้เพียงแผ่วบาง...แต่ก็หมายถึง...การมีชีวิต

  โดยครูใหญ่วิเชียร  ไชยบัง


เค้าโครงการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๘  Quarter 1
หน่วยการเรียนเรื่อง “สายลมกับทุ่งหญ้า”

สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๑


หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
 “สายลมกับทุ่งหญ้า
คาดเดาเรื่องก่อนการเรียนรู้

สาระ/หลักภาษาไทย
- ทบทวนความรู้
- การคาดเดาเรื่อง
- วรรณกรรม
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๘  มีมารยาทในการอ่าน 
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๖ บอกความหมายของสำนวน

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง


นักเรียน มีทักษะในการเขียนคัดลายมือ  อ่านและเขียนพยัญชนะได้ถูกต้อง 
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  และพูดแสดงความคิด ความรู้สึกและจินตนาการได้
อย่างอิสระ  รวมทั้งสามารถคาดเดาเรื่องหรือคาดคะเนเหตุการณ์ได้อย่างมีเหตุผล บอกเล่าให้คนอื่นฟังได้ สามารถจับใจความและถ่ายทอดการเล่า เขียนบันทึกให้คนอื่นรับทราบได้



สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๒


หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
สายลมกับทุ่งหญ้า
ตอน ในอ้อมกอด

สาระ/หลักภาษาไทย
มาตราตัวสะกดตรงมาตราและไม่ตรงมาตราเช่น แม่กก  กง  กม  เกย เกอว  กด กบ กน  กก
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของมาตราตัวสะกดตรงมาตราและไม่ตรงมาตรา จากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องคนเลี้ยงควาย เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน 
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๗ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้
./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนมาตรตราตัวสะกดตรงและไม่ตรงมาตรา นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่าง
สร้างสรรค์
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟัง การอ่านนิทานไปใช้
ในชีวิตได้


สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๓

หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
สายลมกับทุ่งหญ้า
ตอน   ในทุ่งกว้าง

สาระ/หลักภาษาไทย
ชนิดของคำ ( คำนาม คำสรรพนาม  ลักษณะนาม คำกริยา คำบุพบท คำอุทาน
คำวิเศษณ์  คำสันธาน)
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ พ้องรูป คำพ้องเสียงจากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องก่องข้าวน้อย เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน  
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๓ ใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๗ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนและนำคำพ้องรูปพ้องเสียงและชนิดของคำไปประยุกต์ใช้ได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟัง การอ่านนิทานไปใช้ในชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์



สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๔


หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
สายลมกับทุ่งหญ้า
ตอน  ความอุดมสมบูรณ์ทั้งมวลตกลงมาพร้อมกับฝน

สาระ/หลักภาษาไทย
คำประวิสรรชนีย์  และไม่ประวิสรรชนีย์
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ ประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ ของประโยค และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่อง เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน  
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง


นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนคำประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ได้
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญ วิเคราะห์เรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟัง การอ่านนิทานไปใช้ในชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์



สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๕


หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
สายลมกับทุ่งหญ้า
ตอน ฤดูเก็บเกี่ยว

สาระ/หลักภาษาไทย
- สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
- การใช้พจนานุกรม
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่อง เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน  
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๓ ใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๗ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง


นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถ ใช้พจนานุกรมในการศึกษาค้นหาความหมายของคำ อ่านและเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เขียนเรื่องตามจินตนาการ
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากสำนวน สุภาษิต คำพังเพย การฟัง การอ่านนิทานไปใช้
ในชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์



สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๖ 


หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
สายลมกับทุ่งหญ้า
ตอน ผู้ครอบครอง

สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่มีตัวการันต์
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำที่มีตัวการันต์ และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่อง เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน  
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๓ ใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๗ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง


นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนคำที่มีตัวการันต์ และนำมาใช้ในการแต่งเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟัง การอ่านนิทานไปใช้
ในชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์



สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๗ 


หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
สายลมกับทุ่งหญ้า
ตอน  เด็กวัด

สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่มีตัว รร หัน
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ ที่มี รร หัน จากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน  
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๓ ใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๗ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง
./๓ ร้องเพลงพื้นบ้าน
./๔ ท่องบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ


นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนคำที่มี รร หันได้ 
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟัง การอ่านนิทานไปใช้
ในชีวิตได้



สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๘ 


หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
สายลมกับทุ่งหญ้า
ตอน  เจ้าด่างจากไป

สาระ/หลักภาษาไทย
การใช้ บัน และ บรร  ตัว ฤ ฤา
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ บัน และบรร จากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน  
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๓ ใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๗ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนคำบัน และบรรได้  มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟัง การอ่านนิทานไปใช้
ในชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์



สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๑๐


หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม เรื่อง
สายลมกับทุ่งหญ้า
ตอน การกลับมาเยี่ยมบ้าน/การพลัดพรากและวันอำลา

สาระ/หลักภาษาไทย
คำพ้องรูป  คำพ้องเสียง
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ พ้องรูป คำพ้องเสียงจากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องก่องข้าวน้อย เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน  
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน

./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๓ ใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๗ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง


นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนและนำคำพ้องรูปพ้องเสียงไปประยุกต์ใช้ได้ 
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟัง การอ่านนิทานไปใช้
ในชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์



สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๑๑ 


หน่วยการเรียนรู้
สรุปองค์ความรู้

สาระ/หลักภาษาไทย
- สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
- สรุปองค์ความรู้
./๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
./๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามเรื่องที่อ่าน
./๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
./๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
 ป./๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องเล่นแร่แปรธาตุ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
./๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาทในการอ่าน  
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
./๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
./๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
./๔ เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ
./๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
./๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./๘ มีมารยาทในการเขียน
./๑ จำแนกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
./๒ พูดสรุปความจากการฟังและดู
./๓ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
./๕ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
 ป./๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

./๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ
./๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
./๓ ใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ
./๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
./๖ บอกความหมายของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
./๗ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

./๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือ นิทานคติธรรม
./๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้จริง


นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนสำนวน สุภาษิต คำพังเพยได้  มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟัง การอ่านนิทานไปใช้ในชีวิตได้